การวัดไทริสเตอร์ การวัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง

การวัดไทริสเตอร์   SCR  ด้วยมัลติมิเตอร์

ก่อนวัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลังให้ดูที่ป้ายและสัญลักษณ์บอกชนิดของอุปกรณ์  การวัดให้วัดนอกวงจรและวัดขณะที่ไม่มีไฟ  ยกตัวอย่างตามรูปตามด้านล่างเป็นไทริสเตอร์มอดูล  ข้างในมี  SCR   2  ตัว  หลังจากดูตำเหน่งขาที่ป้ายแล้วจะทำการวัดต่อเป็นลำดับ


1)  วัดขา G และ K ของ SCR ตัวที่  1   ถ้าดีจะได้ค่าความต้านทานประมาณ  10-20 Ohm


test  Check   SCR  module  with  multimeter


2)  วัดขา G และ K ของ SCR ตัวที่  2   ถ้าดีจะได้ค่าความต้านทานประมาณ  10-20 Ohm
test   SCR  module  with  multimeter



3)  วัดขา A และ K ของ SCR ตัวที่  1   ถ้าดีจะได้ค่าความต้านทานประมาณ  Mega  Ohm หรือ OL ขึ้นอยู่กับรุ่นหรือเบอร์ SCR

Test   SCR   Thyristor


4)  วัดขา A และ K ของ SCR ตัวที่  2   ถ้าดีจะได้ค่าความต้านทานประมาณ  Mega  Ohm หรือ OL   ขึ้นอยู่กับรุ่นหรือเบอร์ SCR

test   SCR   module  with  multimeter



เลือกหัวข้อ อ่านต่อ

อ่านค่า   R   4  แถบสี

อ่านค่า  R    5  แถบสี


ต่อ คาปาซิเตอร์  C  อนุกรม  และ ขนาน
สูตร  วงจรอนุกรม  วงจรขนาน   กฏการแบ่งกระแส   และ กฏการแบ่งแรงดัน


วัด  SCR  และ ไทริสเตอร์มอดูล


วัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง


อ่านค่าเบอร์วาริสเตอร์  ( Varistor )

และหัวข้ออื่นๆ อีกมาก   ให้ดูที่รายการหัวข้อด้านข้าง   หรือ เลื่อนหน้าด้านล่าง  >  เพื่อดูหัวข้อถัดไป

การวัดไทริสเตอร์ การวัด SCR มอดูล ดีหรือเสีย

การวัดไทริสเตอร์   การวัด  SCR   มอดูล  ดีหรือเสีย   

SCR   มอดูล ข้างในอาจมี SCR  1 ตัวหรือ   2 ตัวแล้วแต่รุ่น ก่อนวัดให้ดูตำเหน่งขาซึ่่งแสดงไว้ที่ป้ายด้านข้าง

ลำดับการวัด

1) วัดขา G1 และ K1  ถ้าดีจะได้ค่าความต้านทานต่ำประมาณ 10-20 Ohm

test   SCR  module   with   multimeter


วัดไทริสเตอร์ การวัด SCR



2) วัดขา G2 และ K2  ถ้าดีจะได้ค่าความต้านทานต่ำประมาณ 10-20 Ohm

test  SCR  thyristor  module  with   multimeter


3) วัดขา A1 และ  K1  ถ้าดีจะได้ค่าความต้านทานสูงประมาณ  เมกะ โอห์ม  ( Mega  Ohm )

Test   SCR   Check  Thyrystor  วัดไทริสเตอร์



4) วัดขา A2 และ  K2  ถ้าดีจะได้ค่าความต้านทานสูงประมาณ  เมกะ โอห์ม  ( Mega  Ohm )

test   SCR   thyristor   module   with   multimeter



เลือกหัวข้อ อ่านต่อ

อ่านค่า   R   4  แถบสี

อ่านค่า  R    5  แถบสี

อ่านค่าสีตัวต้านทาน  4 แถบสี และ  5 แถบสี


ต่อ คาปาซิเตอร์  C  อนุกรม  และ ขนาน
สูตร  วงจรอนุกรม  วงจรขนาน   กฏการแบ่งกระแส   และ กฏการแบ่งแรงดัน


วัด SCR และไทริสเตอร์มอดูล


วัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง


อ่านค่าเบอร์วาริสเตอร์  ( Varistor )

และหัวข้ออื่นๆ อีกมาก   ให้ดูที่รายการหัวข้อด้านข้าง   หรือ เลื่อนหน้าด้านล่าง  >  เพื่อดูหัวข้อถัดไป


เทียบเบอร์ไดโอดและเบอร์แทนไดโอด Diode Replacement 1N4007 เบอร์แทน

หลักการเทียบเบอร์ไดโอดและเบอร์แทนไดโอด  Diode  Replacement   

มีหลักการดูสเปคค่าทางไฟฟ้าดังนี้
1).  ค่ากระแส  Io   =   Average Rectified Forward Current
2).  แรงดัน  V(F)   =  Forward  Voltage 
3).  แรงดัน  V(PIV) หรือ  V(PRV)  = Peak Reverse  Voltage 
4).  แรงดัน  V(RRM)   =   Repetitive  Peak  Reverse Voltage
5).  ความเร็วในการทำงานและ เวลาฟื้นตัวย้อนกลับ  Trr (reverse recovery time)
6).  ชนิดของวัสดุ    ชนิดซิลิคอนหรือเจอรมันเนียม
7).  ประเภทการใช้งานหรือวงจร
8).  ตัวถังหรือลักษณะเคสของไดโอด

ยกตัวอย่างเบอร์  1N4007  มีค่ากระแส Io  1A   มีแรงดัน V(PIV) หรือ  V(PRV)  = 1000V  ประเภทการใช้งานหรือวงจรคือ  Rectifier เรียงกระแสไฟ AC เป็น DC  สามารถใช้เบอร์ต่อไปนี้แทนได้

FR107G   1A   1000V  
1N5408    3A   1000V     
UF5408   3A    1000V   
1N5623    1A   1000V  
UF1007   1A    1000V  
1N5399   1.5A  1000V  



หัวข้อน่าสนใจ    อ่านต่อ   ตามด้านล่าง 
   
ไดโอด   Diode   ໄດໂອດ


การอ่านค่าตัวต้านทาน    4 และ 5  แถบสี


การอ่านค่าตัวต้านทาน   อ่านสีตัวต้านทาน     4  แถบ

การอ่านค่าตัวต้านทาน   อ่านสีตัวต้านทาน     5  แถบ

เลือกหัวข้อ     อ่านต่อ
ต่อ คาปาซิเตอร์  C  อนุกรม  และ ขนาน
สูตร  วงจรอนุกรม  วงจรขนาน   กฏการแบ่งกระแส   และ กฏการแบ่งแรงดัน


วัด SCR และ ไทริสเตอร์มอดูล


วัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง


อ่านค่าเบอร์วาริสเตอร์  ( Varistor )

และหัวข้ออื่นๆ อีกมาก   ให้ดูที่รายการหัวข้อด้านข้าง   หรือ เลื่อนหน้าด้านล่าง  >  เพื่อดูหัวข้อถัดไป




การวัดไทริสเตอร์ การวัด SCR  มอดูล  ดีหรือเสีย 

เลือกดูหัวข้อที่แถบเมนู  ด้านบนสุด  ด้านล่างสุด หรือด้านข้าง (ปรับตามหน้าจอ)